องค์ประกอบ ของ การ คิด

ลักษณะการคิด เป็นเป้าหมายของการคิด แยกแยะการคิดตามผลของการคิดที่เกิดขึ้น เช่น คิดคล่อง คือคิดอย่างรวดเร็ว ให้ได้ข้อมูลจำนวนมาก คิดหลากหลาย คือ คิดให้ได้ข้อมูลหลายประเภท นอกจากนี้ยังมี คิดละเอียด คิดชัดเจน คิดอย่างมีเหตุผล คิดถูกทาง คิดกว้าง คิดลึกซึ้ง คิดไกล 5. กระบวนการคิด เป็นการคิดที่ต้องดำเนินการไปเป็นลำดับขั้นตอน ต้องอาศัยทักษะการคิดหรือลักษณะการคิดจำนวนมาก กระบวนการคิดที่สำคัญ เช่น กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการคิดแก้ปัญหา กระบวนการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ กระบวนการตัดสินใจ เป็นต้น 6.

องค์ประกอบของการคิดมีอะไรบ้าง

  • สูตร น้ํา ราด กล้วย ปิ้ง
  • องค์ประกอบของการคิดเชิงออกแบบ – TechAcute
  • คอน โด สุรวงศ์
  • กระเป๋า coco london ประวัติ กิต three man
  • Thinking: กระบวนการคิด
  • ตัว การ์ตูน ทำงาน
  • ผู้เล่น 1 คน เกม - Y8.COM - หน้า 5
  • Analysis thinking: องค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์
  • องค์ประกอบที่สำคัญในการคิดนวัตกรรม บนพื้นฐานของหลักการทรงงาน (ตอนที่ 1) - PORPEANG-KM : เศรษฐกิจพอเพียง
  • อยากเข้าคณะแพทยศาสตร์ เป้าคะแนนเท่าไหร่ดี? | OpenDurian เตรียมสอบ TOEIC IELTS TCAS ก.พ.

ก่อนหน้านี้เราได้กล่าวถึงการคิดเชิงออกแบบในบทความอื่นๆ แต่เราไม่เคยแนะนำแนวปฏิบัตินี้ให้กับคุณอย่างเหมาะสม ในบทความนี้ เราต้องการให้คุณเห็นภาพรวมว่า Design Thinking คืออะไร มาจากไหน ใช้งานอย่างไร และรวมอะไรบ้าง อย่างไรก็ตาม บทความนี้ไม่ได้อ้างว่าสะท้อนเนื้อหาทั้งหมดของหัวข้อนี้ และสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม เราจะเพิ่มคำแนะนำหนังสือที่ด้านล่างเพื่อการเรียนรู้เพิ่มเติม Design Thinking คืออะไร? Design Thinking เป็นชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถนำไปใช้ในระหว่างกระบวนการออกแบบ ไม่ได้สร้างขึ้นสำหรับเฉพาะกลุ่มหรืออุตสาหกรรมใดโดยเฉพาะ และด้วยเหตุนี้จึงกลายเป็นวิธีการที่นิยมสำหรับองค์กรในทุกภาคส่วน หากคุณกำลังมองหานวัตกรรมด้วยโครงสร้าง Design Thinking อาจช่วยให้คุณบรรลุเป้าหมายนั้นได้ Design Thinking มาจากไหน? ในขณะที่การกล่าวถึงวิธีวิทยาการครั้งแรกโดยใช้ชื่อว่า Design Thinking ครั้งแรกนั้นเกิดขึ้นราวๆ ปี 1987 ในหนังสือ ออกแบบ คิด โดย Peter Rowe มีแนวคิดและความคิดที่คล้ายคลึงกันที่พบในเนื้อหาตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1940 เป็นชุดของเทคนิคความคิดสร้างสรรค์ครั้งแรกและจากนั้นก็มีความเกี่ยวข้องมากขึ้นในการออกแบบโซลูชันอุตสาหกรรมในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ใครใช้ Design Thinking บ้าง?

องค์ประกอบของการคิดอย่างมีเหตุผล

2547: 128-130) ดังต่อไปนี้ 1. ความชัดเจน (Clarity) ความชัดเจนของปัญหาเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการคิด เช่น ตัวอย่างของปัญหาที่ตั้งขึ้นมาเพื่อตรวจสอบความชัดเจน เช่นยังมีเรื่องอะไรอีกในส่วนนี้ที่เรายังไม่รู้สามารถยกตัวอย่างมาอ้างอิงได้หรือไม่ สามารถอธิบายขยายความส่วนนั้นให้มากขึ้นได้หรือไม่ 2. ความเที่ยงตรง (Accuracy) เป็นคำถามที่บอกว่าทุกคนสามารถตรวจสอบได้ถูกต้องตรงกันหรือไม่ เช่น จริงหรือ เป็นไปได้หรือ ทำไมถึงเป็นไปได้ สามารถตรวจสอบได้หรือไม่ตรวจสอบอย่างไร เราจะหาข้อมูลหลักฐานได้อย่างไร ถ้าตรงนั้นเป็นเรื่องจริงเราจะทดสอบมันได้อย่างไร 3. ความกระชับ ความพอดี (Precision) เป็นความกะทัดรัด ความเหมาะสม ความสมบูรณ์ของข้อมูล เช่น จำเป็นต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องนี้อีกหรือไม่ ทำให้ดูดีกว่านี้ได้อีกหรือไม่ ทำให้กระชับกว่านี้ได้อีกหรือไม่ 4. ความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง (Relevance) เป็นการตั้งคำถามเพื่อคิดเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ เช่น สิ่งนั้นเกี่ยวข้องกับปัญหาอย่างไร มันเกิดสิ่งต่างๆ ขึ้นตรงนั้นได้อย่าง ผลที่เกิดขึ้นตรงนั้น มันมีที่มาอย่างไร ตรงส่วนนั้นช่วยให้เราเข้าใจอะไรได้บ้าง 5. ความลึก (Depth) หมายถึงความหมายในระดับที่ลึกความคิดลึกซึ้ง การตั้งคำถามที่สามารถเชื่อมโยงไปยังการคิดหาคำตอบที่ลึกซึ้ง ถือว่าคำถามนั้นมีคุณค่ายิ่ง เช่น ตัวประกอบอะไรบ้างที่ทำให้ตรงนี้เป็นปัญหาสำคัญ อะไรที่ทำให้ปัญหาเรื่องนี้มันซับซ้อน สิ่งใดบ้างที่เป็นความลำบากหรือความยุ่งยากที่เราจะต้องพบ 6.

ความกว้างของการมอง (Breadth) เป็นการทดลองเปลี่ยนมุมมอง โดยให้ผู้อื่นช่วยเช่น จำเป็นจะต้องมองสิ่งนี้จากด้านอื่น คนอื่น ด้วยหรือไม่ มองปัญหานี้โดยใช้วิถีทางอื่นๆ บ้างหรือไม่ ควรจะให้ความสำคัญของความคิดเห็นจากบุคคลอื่นหรือไม่ ยังมีข้อมูลอะไรในเรื่องนี้อีกหรือไม่ที่ไม่นำมากล่าวถึง 7. หลักตรรกวิทยา (Logic) มองในด้านของความคิดเห็นและการใช้เหตุผล เช่นทุกเรื่องที่เรารู้ เราเข้าใจตรงกันหมดหรือไม่ สิ่งที่พูดมีหลักฐานอ้างอิงหรือไม่ สิ่งที่สรุปนั้นเป็นเหตุผลที่สมบูรณ์หรือไม่ สิ่งที่กล่าวอ้างมีขอบข่ายครอบคลุมรายละเอียดทั้งหมดหรือไม่ 8.

Thinking: กระบวนการคิด

การประเมิน เป็นการคิดตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑ์ เป็นทักษะการคิดชั้นสูง โดยให้ เปรียบเทียบ หาคุณค่า จัดลำดับ สร้างทางเลือก สนับสนุน สรุปความ อธิบาย แยก มิติของการคิด เป็นการวิเคราะห์การคิดเพื่อพัฒนา เป็น 6 มิติ หากเกิดขึ้นอย่างครบถ้วนและมีคุณภาพก็จะส่งผลให้การคิดนั้นมีคุณภาพตามไปด้วย 1. ข้อมูลหรือเนื้อหาที่ใช้ในการคิด แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ข้อมูลเกี่ยวกับสังคม และสิ่งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ ข้อมูลมากจะเอื้อต่อการคิด 2 คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิด ได้แก่ ความเป็นผู้มีใจกว้าง เป็นธรรม ใฝ่รู้กระตือรือร้นช่างวิเคราะห์ ผสมผสาน ขยัน กล้าเสี่ยง อดทน มีความมั่นใจในตนเองและมีมนุษยสัมพันธ์ดี 3. ทักษะการคิด มี 2ระดับ คือ ทักษะการคิดพื้นฐานและทักษะการคิดชั้นสูง การคิดพื้นฐาน เป็นทักษะเบื้องต้น ไม่ซับซ้อนเป็นพื้นฐานต่อการคิดระดับสูง เช่น ทักษะการสื่อความหมาย การฟัง การอ่าน การจำ การพูด การเขียน ทักษะการคิดที่เป็นแกน เป็นทักษะทั่วไปที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การสังเกต การสำรวจ การตั้งคำถาม การจัดลำดับ การเปรียบเทียบ การสรุปอ้างอิง การตีความ แปลความ การให้เหตุผล การสรุป การขยายความ ทักษะการคิดชั้นสูง ใช้ทักษะพื้นฐานซับซ้อน เช่น การวิเคราะห์ สังเคราะห์ การประเมินผล การจัดระบบความคิด การค้นหาแบบแผน การสร้างความรู้ 4.

กระบวนการคิดแก้ปัญหาของทอร์แรนซ์ « เว็บบล๊อกแห่งการเรียนรู้

องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์นี้ได้รับอิทธิพลมาจากทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญาของกิลฟอร์ด (Guilford. 1967: 62) ซึ่งเชื่อว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมองที่คิดได้อย่างซับซ้อน กว้างไกล หลายทิศทาง หรือที่เรียกว่า คิดอเนกนัย (Divergent thinking) ซึ่งประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม (Originality) ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) ความคิดยืดหยุ่น (Flexibility) ความคิดละเอียดลออ(Elaboration) Guilford (1967: 145-151) ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ไว้ดังนี้ 1. ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ความคิดแปลกใหม่ไม่ซ้ำกันกับความคิดของคนอื่น และแตกต่างจากความคิดธรรมดา ความคิดริเริ่มอาจเกิดจากการคิดจากเดิมที่มีอยู่แล้วให้แปลกแตกต่างจากที่เคยเห็น หรือสามารถพลิกแพลงให้กลายเป็นสิ่งที่ไม่เคยคาดคิด ความคิดริเริ่มอาจเป็นการนำเอาความคิดเก่ามาปรุงแต่งผสมผสานจนเกิดเป็นของใหม่ ความคิดริเริ่มมีหลายระดับซึ่งอาจเป็นความคิดครั้งแรกที่เกิดขึ้นโดยไม่มีใครสอนแม้ความคิดนั้นจะมีผู้อื่นคิดไว้ก่อนแล้วก็ตาม 2. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) หมายถึง ปริมาณความคิดที่ไม่ซ้ำกันในเรื่องเดียวกัน โดยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 2.

ความจำเป็นที่ต้องพัฒนากระบวนการคิด/ ความสามารถในการคิด การรู้จักคิดหรือคิดเป็นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งของการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง คิดเป็นช่วยให้ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น ดูเป็นฟังเป็น กินเป็น ใช้เป็น บริโภคเป็น คบหาสมาคมเป็น และการคิดทำให้คนฉลาด การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีความสามารถทางด้านการคิด วิเคราะห์เป็นไปตามกรอบ กฎหมาย หลักสูตร ดังนี้ พ. ร. บ. การศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542 มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง... ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา.... จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. 2544 กำหนดจุดหมายของหลักสูตร เป็นคุณลักษณะของผู้เรียน... ข้อ 2 มี ความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอ่าน รักการเขียนและรักการค้นคว้า... ข้อ 4 มีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด การสร้างปัญญาและทักษะในการดำเนินชีวิต กำหนดเกณฑ์การผ่านช่วงชั้นและการจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อ 2).

องค์ประกอบของการคิดเชิงวิเคราะห์