หนี้ ครัวเรือน 2563 – หนี้ครัวเรือน 2563 ธนาคารแห่งประเทศไทย

ได้ผลักดันหลายโครงการ อาทิ การปรับโครงสร้างหนี้ คลินิกแก้หนี้ และโครงการหมอหนี้เพื่อประชาชน เพื่อให้ลูกหนี้รายย่อยมีภาระหนี้ที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือนสอดคล้องกับรายได้ที่เปลี่ยนไป ด้านสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ. )

หนี้ครัวเรือนไทยปี 63... อาจแตะ 80% ต่อ GDP - ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

2564 และเดือนมิ. ย. 2564 ที่เป็นช่วงก่อน-หลังโควิดรอบสาม) พบว่า สถานการณ์รายได้และหนี้สินของประชาชนรายย่อยถดถอยลงมากจากผลของโควิด 19 ระลอกที่สาม โดยในผลสำรวจเดือนมิ. 2564 (หลังโควิดรอบสาม) ผู้ตอบแบบสอบถามที่ "มีรายได้ไม่ปกติ" มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 59. 6% ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด สูงกว่าสัดส่วน 56. 2% ในผลสำรวจเดือนมี. 2564 (ก่อนโควิดรอบสาม) และโดยเฉลี่ยแล้ว ผู้ตอบแบบสอบถามในรอบเดือนมิ. 2564 มี "จำนวนบัญชีสินเชื่อ" และ "สัดส่วนภาระหนี้ต่อรายได้ หรือ DSR" เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผลสำรวจฯ เดือนมี. 2564 โดย DSR จากผลสำรวจฯ เดือนมิ. 2564 ขยับขึ้นมาที่ 46. 9% เทียบกับ DSR ที่ 42. 8% จากผลสำรวจฯ เดือนมี. 2564 โดยหากพิจารณาเฉพาะในกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความเปราะบางทางการเงิน ซึ่งเป็นประชาชน-ครัวเรือนที่กำลังเผชิญแรงกดดัน 3 ด้านพร้อมกัน ทั้ง "ปัญหารายได้ลด-ค่าใช้จ่ายไม่ลด-DSR สูงเกินกว่า 50% ต่อรายได้ต่อเดือน" จะพบว่า สัดส่วนของกลุ่มเปราะบางในผลสำรวจเดือนมิ. 2564 ขยับขึ้นมาที่ 22. 1% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เทียบกับสัดส่วนประมาณ 10. 8% ในผลสำรวจเดือนมี. 2564 ภาพสะท้อนดังกล่าวตอกย้ำปัญหาหนี้สินของประชาชนที่มีสัญญาณน่ากังวลมากขึ้นในระดับครัวเรือน สำหรับมุมมองต่อสถานการณ์หนี้สินของตัวเองนั้น ผลสำรวจฯ พบว่า ลูกหนี้ห่วงปัญหาหนี้สินของตัวเองมากขึ้น โดยผู้ตอบแบบสอบถามในเดือนมิ.

  1. หนี้ ครัวเรือน 2563
  2. ธนาคารแห่งประเทศไทย (ข้อมูลสถิติ) EC_MB_039 เงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือน 1/
  3. พิษโควิดกระทบหนี้ครัวเรือนไทยขยับขึ้นมาอยู่ที่กรอบ 88-90% จ่อจีดีพี
  4. สับมากลูก "มาดามแป้ง" ชวนแฟนโหวตข้าวเหนียวมะม่วง หลัง "มิลลิ" กินโชว์ที่สหรัฐฯ
  5. 3 อ 2 3 4
  6. หนี้ครัวเรือน 2563
  7. 'หนี้ครัวเรือน' พุ่งทะลุ 90% ต่อจีดีพี สูงสุดในรอบ 18 ปี
  8. หนี้ครัวเรือน
  9. หนี้ครัวเรือน 2563 ธนาคารแห่งประเทศไทย

'หนี้ครัวเรือน' พุ่งทะลุ 90% ต่อจีดีพี สูงสุดในรอบ 18 ปี

1% ของรายได้ต่อเดือนในช่วงต้นปี 2564 ส่วน DSR ของผู้กู้รายย่อยที่มีปัญหาด้านรายได้อยู่ที่ 43. 8% ซึ่งภาระหนี้ของผู้กู้ทั้งสองกลุ่มดังกล่าวอยู่สูงกว่าค่าเฉลี่ย DSR ภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถามในผลสำรวจรอบนี้ซึ่งอยู่ที่ 42. 8% ของรายได้ต่อเดือน ขณะที่ข้อมูลในฝั่งการออมของภาคครัวเรือนก็สะท้อนว่า ระดับการออมของครัวเรือนทุกกลุ่มลดต่ำลงจากผลกระทบของโควิด-19 ด้วยเช่นกัน สำหรับแนวโน้มในปี 2564 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทยอยฟื้นตัวขึ้นจากวิกฤตโควิด-19 น่าจะทำให้เงินกู้ยืมของภาคครัวเรือนปี 2564 มีโอกาสเติบโตขึ้นสูงกว่าปี 2563 ที่เติบโตเพียง 3. 9% ซึ่งภาพดังกล่าวอาจส่งผลต่อเนื่องให้สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ขยับสูงขึ้นมาอยู่ในกรอบประมาณ 89. 0-91. 0% ต่อ GDP ในปี 2564 เทียบกับระดับ 89. 3% ต่อ GDP ในปี 2563 ซึ่งตอกย้ำว่าทางการไทยคงหันกลับมาดูแลปัญหาหนี้ครัวเรือนอย่างจริงจังเมื่อวิกฤตโควิด-19 สิ้นสุดลง โดยอาจกลับมาสานต่อมาตรการดูแลให้การก่อหนี้ของครัวเรือนสอดคล้องกับความสามารถในการชำระหนี้ (Affordability) พิสูจน์อักษร: พรนภัส ชำนาญค้า ABOUT THE AUTHOR THE STANDARD WEALTH สำนักข่าวเศรษฐกิจ ธุรกิจ และการลงทุน โดยทีมข่าว THE STANDARD

หนี้ครัวเรือนไทยปี 2563 อาจพุ่งสูงถึง 90% ต่อจีดีพี - BTimes.Biz

เศรษฐกิจ 18 ม. ค. 2563 เวลา 5:00 น. 14.

0% และ 42. 7% ตามลำดับ ทั้งนี้ แม้ผลสำรวจฯ ของศูนย์วิจัยกสิกรไทยในรอบนี้ จะสามารถสะท้อนภาพสัดส่วนภาระหนี้ต่อรายได้ (DSR) ของผู้กู้-ครัวเรือนเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่ข้อเท็จจริงที่ได้ก็มีความสอดคล้องสถานการณ์หนี้ครัวเรือนในระดับภาพรวมทั้งประเทศ และหากเจาะลึกพฤติกรรมการก่อหนี้ของกลุ่ม GenY ในผลสำรวจฯ พบว่า ประมาณ 47. 8% ของ GenY ในผลสำรวจฯ มีหนี้เพิ่มขึ้นในปีที่ผ่านมา ซึ่งหนี้ที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่เป็นหนี้ที่ไม่มีหลักประกัน หรือ Clean Loan โดยเฉพาะหนี้บัตรเครดิต (84%) และหนี้สินเชื่อส่วนบุคคล (48%) ซึ่งน่าจะสะท้อนพฤติกรรมการก่อหนี้เพื่อการใช้จ่าย-อุปโภคบริโภคในระยะสั้น ซึ่งแม้วงเงินสินเชื่อ-หนี้ประเภทนี้อาจจะไม่สูง เพราะไม่ใช่เป็นหนี้ก้อนใหญ่เพื่อซื้อสินทรัพย์ แต่ก็เป็นสาเหตุให้ผู้กู้มีฐานะทางการเงินที่อ่อนแอลง เพราะมีภาระผ่อนชำระต่อเดือนเพิ่มขึ้น อ่านผลสำรวจฉบับเต็มคลิกที่นี่ หนี้ครัวเรือน

หนี้ครัวเรือน คนไทย ทำไมจึงเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 18 ปี (วิเคราะหฺ์)

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เปิดเผยถึงผลกระทบสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ว่า ได้ส่งผลให้หนี้ครัวเรือนที่เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างอยู่แล้วมีความเปราะบางมากขึ้น โดยสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีได้เพิ่มขึ้นไปถึง 80. 1% ในไตรมาส 1 ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าภาคครัวเรือนกำลังรับมือกับปัญหาการหดตัวของรายได้ซึ่งเร็วกว่าการชะลอตัวของการกู้ยืม. ส่วนแนวโน้มทั้งปี 2563 แม้หนี้ครัวเรือนของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่กรอบ 88-90% เมื่อเทียบกับจีดีพี เนื่องจากเศรษฐกิจไทยเข้าสู่ภาวะถดถอยจากผลกระทบของโควิด-19 ประกอบกับผลจากมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้และการพักชำระหนี้ ส่งผลทำให้ระดับหนี้ไม่ลดลงมากตามภาพเศรษฐกิจ. แต่สถานการณ์หนี้ครัวเรือนในระดับสูงนี้เกิดขึ้นกับหลายประเทศในแถบเอเชีย ไม่ได้เกิดเฉพาะกับไทย โดยภาพดังกล่าวสะท้อนปัญหาเชิงโครงสร้าง พร้อม กับประเด็นที่ต่อเนื่องต่อคุณภาพของพอร์ตสินเชื่อรายย่อยในระบบธนาคารพาณิชย์ ซึ่งสำหรับธนาคารพาณิชย์นั้น โจทย์เฉพาะหน้าที่ยากจะมีอยู่ 2 เรื่อง คือ การเร่งผลักดันมาตรการช่วยเหลือลูกค้ารายย่อยและลูกค้าบุคคลให้ผ่านพ้นช่วงเวลาที่ยากลำบากนี้ไปก่อน และการเร่งปรับโครงสร้างหนี้เพื่อช่วยดูแลความสามารถในการชำระหนี้ให้กับลูกหนี้

4% ของรายได้ต่อเดือน มีรายจ่ายในชีวิตประจำวันราว 48% ของรายได้ต่อเดือน ซึ่งเท่ากับว่า เงินสำหรับออม-ลงทุน หรือเก็บไว้ยามฉุกเฉินมีสัดส่วนเพียง 12% ของรายได้เท่านั้น อีกทั้งยังพบว่า ผู้กู้-ครัวเรือนหลายกลุ่มมีสัดส่วน DSR สูงขึ้น โดยเฉพาะกลุ่ม GenY และผู้รายได้ต่ำกว่า 15, 000 บาทต่อเดือนที่มีสัดส่วน DSR อยู่ที่ 42. 0% และ 42. 7% ตามลำดับ สัญญาณดังกล่าวเป็นไปในทิศทางเดียวกับข้อมูลภาพรวมในระดับประเทศ ซึ่งสะท้อนว่า ผู้กู้-ครัวเรือนกลุ่มนี้ต้องระมัดระวังในการใช้จ่ายและการก่อหนี้เพิ่มเติม ​สำหรับปี 2563 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า หนี้ครัวเรือนอาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่เร็วกว่าการเติบโตของเศรษฐกิจ ทำให้สัดส่วนหนี้ครัวเรือนอาจขยับขึ้นไปอยู่ในกรอบประมาณ 80. 0-81.

1 89. 6 89. 5 90. 8 89. 7 86. 8 15 สินเชื่อจากสถาบันการเงินต่อ GDP ปรับฤดูกาล (%) 10/ 89. 7 90. 2 87. 0